มหาโควินทสูตร (ตอนที่ 1 เทวสันนิบาต)
ความพร้อมเพรียงของหมู่เป็นเหตุแห่งสุข และการสนับสนุนผู้พร้อมเพรียงกัน ก็เป็นเหตุแห่งสุข ภิกษุผู้ยินดีในความพร้อมเพรียงกัน ตั้งอยู่ในธรรม ย่อมไม่เสื่อมจากธรรมอันเกษมจากโยคะ ภิกษุสมานสงฆ์ให้พร้อมเพรียงกันแล้ว ย่อมบันเทิงในสรวงสวรรค์ตลอดกัป
ยักษ์ประเภทต่างๆ
ข้าพระบาทเข้าถึงความเป็นสหายของท้าวเวสสวัณมหาราช ข้าพระบาทจุติจากนี้แล้ว สามารถเป็นพระราชาในหมู่มนุษย์อีก ข้าพระบาทเคลื่อนจากเทวโลกนี้ ๗ ครั้ง จากมนุษยโลก อีก ๗ ครั้ง รวมท่องเที่ยวไปอยู่ในระหว่าง ๒ โลกนี้ ๑๔ ครั้ง จึงคุ้นเคยกับสวรรค์ชั้นจาตุมหาราชิกาที่เคยอยู่มาก่อน
ทำไมจึงฉันมื้อเดียว
การฉันอาหารมื้อเดียว จะมีอาพาธน้อย ลำบากกายน้อย มีกำลัง และอยู่อย่างผาสุข
ส่องธรรม ล้ำภาษิต : พึงทำหน้าที่ตนให้สมบูรณ์
น ปเรสํ วิโลมานิ น เปรสํ กตากตํ อตฺตโน ว อเวกฺเขยฺย กตานิ อกตานิ จ ไม่ควรใส่ใจคำ แสลงหูของผู้อื่น ไม่ควรแส่มองธุระที่เขาทำ และยังไม่ทำ ควรตั้งใจตรวจตราหน้าที่ของตนนี้แหละ ทั้งที่ทำ แล้วและยังไม่กระทำ
อานิสงส์รักษาอุโบสถศีล
พระจันทร์และพระอาทิตย์ส่องแสงสว่างไสว ย่อมโคจรไปตามวิถีเพียงไร ก็สามารถขจัดความมืดได้เพียงนั้น ล่องลอยอยู่ในนภากาศ ส่องแสงสว่างทั่วทุกทิศ ทรัพย์ทั้งหลาย แก้วมุกดา แก้วมณี แก้วไพฑูรย์ หรือทองมีสีสุกใส พระจันทร์ พระอาทิตย์และทรัพย์นั้นๆ ก็ยังเทียบไม่ได้แม้ส่วนเสี้ยวที่ ๑๖ แห่งอุโบสถอันประกอบด้วยองค์ ๘ ประการ
ประกาศผลสอบบาลีสนามหลวง ประจำปี ๒๕๕๘
ประกาศผลสอบบาลีสนามหลวง สำนักศาสนศึกษาวัดพระธรรมกาย ประจำปีการศึกษา ๒๕๕๘
วิบากกรรมเจ้าของบ่อนการพนัน
โครงสร้างดาวดึงส์
ดูก่อนสารีบุตร ในการให้ทานนั้น บุคคลไม่มีความหวังให้ทาน ไม่มีจิตผูกพันในผลของทานแล้วให้ทาน ไม่มีการสั่งสมให้ทาน ไม่ได้ให้ทานด้วยความคิดว่า ตายไปแล้ว เราจะได้เสวยผลแห่งทานนี้ แต่ให้ทานด้วยความคิดว่า การให้ทานเป็นสิ่งที่ดี บุคคลนั้น ให้ทานด้วยอาการอย่างนี้แล้ว เมื่อทำกาลกิริยาตายไป ย่อมเข้าถึงความเป็นสหายแห่งเทวดาในชั้นดาวดึงส์
มงคลที่ ๑๕ บำเพ็ญทาน - ยิ่งให้สมบัติใหญ่ยิ่งไหลมา
เมื่อให้ทาน สละทรัพย์ออกจากใจ ความตระหนี่ซึ่งเป็นวิบัติก็หลุดร่อนออกไปด้วย เมื่อวิบัติหลุดออกไป สิริสมบัติก็หลั่งไหลเข้ามาแทน บุญที่เกิดจากการให้ทานและเอาชนะความตระหนี่ในใจได้นี้ ไปดึงดูดสมบัติใหญ่มา ทำให้ได้สมปรารถนาในสิ่งที่ต้องการ ได้ทั้งโลกิยทรัพย์และอริยทรัพย์ ดังเรื่องของหญิงชราท่านหนึ่ง ที่ตัดใจให้ทานเอาชนะใจตนเองได้ โดยสละทรัพย์ที่หามาด้วยความยากลำบากออกให้ทาน
มงคลที่ ๗ เป็นพหูสูต - โพธิสัตว์ผู้เลิศด้วยปัญญา
นายช่างเหล็กให้ทำตามที่พระโพธิสัตว์บอก เข็มเล่มเล็กละเอียดสวยงามนั้น เมื่อตอกลงไปแล้ว ก็ทะลุทั่งเหล็กลงไปลอยอยู่บนผิวน้ำอย่างน่าอัศจรรย์ ช่างเหล็กทั้งหมดเห็นเช่นนั้นถึงกับตะลึงในความสามารถ และภูมิปัญญาของพระโพธิสัตว์